![]() |
( EARTH RESISTANCE TESTER) UT522 |
![]() |
การวัดค่าความต้านทานหลักดินกับดินของระบบต่อลงดิน จะช่วยให้ทราบถึงค่าความต้านทานดินที่กระแสไฟไหลผ่านได้ดีหรือไม่ ในกรณีไฟฟ้ารั่ว หรือ เมื่อเกิดฟ้าผ่าลงระบบล่อฟ้า โดยปกติจะโดยปกติความต้านทานดินจะไม่เกิน 5 โอมห์ ของค่าความต้านทานของหลักดินกับดิน
วิธีการวัดค่าความต้านทานดิน(กราวด์แท่งหลักดิน)
ให้เช่า เครื่องวัดฉนวนของสายไฟฟ้า,เครื่องวัดความต้านทานดิน
ในราคาถูก สำหรับผู้รับเหมา
สนใจติดต่อได้ที่
ทรงศักดิ์ 081-977-0847 ,0864410025
ID line:0864410025
ระบบกราวนด์หรือระบบดินเปรียบประหนึ่งดั่งแหล่งที่ใช้
สำหรับทิ้งขยะทางไฟฟ้า เช่น สัญญาณรบกวน
กำลังไฟฟ้าเกินชั่วขณะที่ไม่พึงประสงค์ ศักยภาพในการทำงาน
ของระบบดิน ก็จะขึ้นอยู่กับค่าความต้านทานหรือค่าอิมพิแดนซ์ของ
ระบบดินเอง ยิ่งระบบดินมีค่าความต้านทานหรือค่าอิมพิแดนซ์สูง
เท่าไหร่ ย่อมส่งผลร้ายต่อระบบงานโดยตรง ซึ่งสามารถพิจารณา
อย่างง่ายๆ โดยอาศัยกฎของโอห์ม นั่นก็คือ ระบบดินมีค่าความต้าน
ทานหรือค่าอิมพิแดนซ์อยู่ค่าหนึ่ง จึงส่งผลให้เกิดศักย์ไฟฟ้าปรากฏ
ที่ระบบดินในช่วงเวลานั้นผลลัทธ์ที่ตามมา หากเกิดศักย์ไฟฟ้าที่ระบบดินสูงกว่าค่าแรงดันไฟฟ้าปกติ จากศักย์ไฟฟ้าที่สูงกว่าไหลไปสู่ที่ต่ำกว่า โดยเราสามารถสังเกตเห็นได้ว่า เครื่องมือวัดค่าความต้านทานดิน จะจ่ายกระแสC1 (สายยาวสุด) ลงสู่ระบบดิน กระแสไฟฟ้าที่ถูกจ่ายออกมานี้ ก็จะไหลกลับมาครบวงจรที่หลักดสอบร่วม กระแสไฟฟ้าไหลผ่านระบบดิน แน่นอนที่สุดว่า ย่อมจะต้องเกิดแรงดันไฟฟ้าค่าหนึ่งปรากฏตกคร่อมอยู่ที่ระบบดิน ณ ขณะนั้น ซึ่งค่าแรงดันที่ปรากฏก็จะถูกดำเนินการตรวจวัดโดยเครื่องมือวัดแรงดันไฟฟ้า เครื่องมือวัดค่าความต้านทานดิน จะดำเนินการนำเอาค่ากระแสไฟฟ้า ซึ่งตรวจวัดโดย ตรวจวัดโดย (G) หรือเป็นจุดที่ต้องการวัดค่าความต้านทานดินนั้นเอง เมื่อ(Voltmeter) ที่อยู่ภายในเครื่องวัดค่าความต้านทานดินAmmeter และค่าแรงดันไฟฟ้า ซึ่งVoltmeter มาคำนวณหาค่าความต้านทานตามสมการ
R = V/I
R = V/I
หลักการทำงานของเครื่องมือวัดค่าความต้านทานดิน สา
ไฟฟ้าผ่านทางหลักทดสอบ สำหรับค่าแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าที่ได้จากการวัดของเครื่องมือวัดค่าความต้านทานดิน เราไม่มีโอกาสได้รับทราบ เพราะเครื่องมือวัดจะดำเนินคำนวณแสดงค่าความต้านทานดินออกมาให้